ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาในแขนงวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนหรือที่เรียกทั่วไปว่า "นิเทศศาสตร์" ทั้งยังเป็นที่ตั้งของสมาคมวารสารศาสตร์แห่งประเทศไทยด้วย

คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนนั้น เกิดขึ้นในฐานะแผนกวารสารศาสตร์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ เพื่อเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกในประเทศไทยที่เปิดสอนวิชาการสาขาวารสารศาสตร์ในระดับปริญญาตรี ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2497 (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 71 ตอนที่ 11 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497) มีหลักการและเหตุผลโดยย่อว่า

เพื่อส่งเสริมการศึกษาในด้านการสังคมสงเคราะห์และวารสารศาสตร์ให้มีมาตรฐานเทียบเท่ามหาวิทยาลัยในต่างประเทศ ดังนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2495 และมาตรา 3 แห่งพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2497 สภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงได้ตราข้อบังคับให้แบ่งแยกแผนกวิชาภายในคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ออกเป็น 2 แผนก คือ แผนกสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ และแผนกวารสารศาสตร์ ให้เปิดการศึกษาวิชาทั้งสองแผนกดังกล่าวตั้งแต่ปีการศึกษา พ.ศ. 2497 (ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการแบ่งแยกแผนกวิชาภายในคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ พ.ศ. 2497 ประกาศ ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497) โดยกำหนดเรียกชื่อปริญญาและอักษรย่อไว้ดังต่อไปนี้

ผู้ที่สอบไล่ได้ครบทุกลักษณะวิชาตามหลักสูตรในแผนกวิชาวารสารศาสตร์ จะได้รับปริญญาดังต่อไปนี้

ในปีการศึกษา 2509 สภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้อนุมัติให้คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์เปิดการศึกษาวิชาการหนังสือพิมพ์ภาคค่ำขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมวิทยฐานะของนักหนังสือพิมพ์อาชีพให้สูงขึ้น รวมทั้งพัฒนาการสื่อสารมวลชนทางด้านหนังสือพิมพ์ และขยายบริการการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยให้มีหลักสูตรการศึกษา 3 ปี ผู้ที่สอบไล่ได้ครบทุกลักษณะวิชาตามหลักสูตรนี้จะได้รับประกาศนียบัตรวิชาการหนังสือพิมพ์

ในปีการศึกษา 2512 มีการปรับปรุงการศึกษาภาคค่ำของแผนกวารสารศาสตร์ใหม่ โดยระงับการรับสมัครเข้าศึกษาวิชาการหนังสือพิมพ์ภาคค่ำ และเปิดสอนระดับปริญญาตรีแทนในปีการศึกษาเดียวกันนั้น โดยใช้เวลาในการศึกษา 6 ปี ผู้ที่สอบไล่ได้ครบทุกลักษณะวิชาตามหลักสูตรจะได้รับปริญญาวารสารศาสตร์บัณฑิต มีศักดิ์และสิทธิ์เหมือนวารสารศาสตร์บัณฑิตหลักสูตรการศึกษา 4 ปี ทุกประการ การศึกษาในด้านวารสารศาสตร์ได้เจริญก้าวหน้ามาเป็นลำดับ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2513 แผนกวารสารศาสตร์ จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นแผนกอิสระวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ดังราชกิจจานุเบกษา เล่ม 87 ตอนที่ 116 วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2513 ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งแผนกอิสระวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2513 ให้ไว้ ณ วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2513

เนื่องจากการศึกษาในสาขาวิชาสื่อสารมวลชนได้เจริญก้าวหน้าและขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงได้มีการยกฐานะแผนกอิสระวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนขึ้นเป็น "คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน" ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เป็นต้นมา ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการเรียกชื่อปริญญา การใช้อักษรย่อสำหรับปริญญาและครุยวิทยฐานะในคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2522 ให้ไว้ ณ วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522 ดังราชกิจจานุเบกษา เล่ม 96 ตอนที่ 201 วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2522 และประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง การแบ่งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ "ให้มีสำนักงานเลขานุการในคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน" ประกาศ ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522

ในคราวประชุมคณบดี ครั้งที่ 7/2533 เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2533 ได้มีมติให้คณะใหม่ ไปพิจารณาเลือกสีประจำคณะ ที่ไม่ซ้ำกับคณะเก่า สำหรับคณะเก่า ก็ขอให้กำหนดสีที่ชัดเจนด้วย คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน จึงนำเข้าพิจารณา ในที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ ที่ประชุมมีมติกำหนดให้สีม่วงเม็ดมะปรางเป็นสีประจำคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนนับแต่นั้นเป็นต้นมา

ในปี พ.ศ. 2534 มีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสำหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะและเข็มวิทยฐานะของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยรวบรวมการเรียกชื่อปริญญาและสีประจำสาขาวิชาทั้งของสาขาวิชาเดิมและสาขาวิชาใหม่ไว้ในพระราชกฤษฎีกาฉบับเดียวกัน และพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ได้มีการสะกดชื่อปริญญาของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนแตกต่างไปจากเดิมเล็กน้อย โดยตัดเครื่องหมายทัณฑฆาตท้ายคำว่า "ศาสตร์" ออก ดังพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย่อสำหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะและเข็มวิทยฐานะของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2534 ให้ไว้ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 108 ตอนที่ 122 วันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 สาขาวิชาวารสารศาสตร์ มีปริญญาสามชั้น ได้แก่

เพื่อให้การศึกษาและวิจัยทางวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนในแขนงต่างๆ แก่นักศึกษา ให้ได้มีความรู้ความชำนาญ สามารถวินิจฉัยและตัดสินปัญหาของสังคมในส่วนที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะไปใช้ในการประกอบวิชาชีพวารสารศาสตร์ มีจริยธรรมและสำนึกต่อสังคม มีความรู้และทักษะในวิชาชีพ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงได้แบ่งการศึกษาออกเป็น 6 กลุ่มสาขาวิชา ดังนี้

สำหรับประวัติละคอนวารสารฯนั้น ในปี พ.ศ. 2523 หลังจากที่ทางคณะวารสารศาสตร์ฯ ได้ยกฐานะจากแผนกอิสระวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน เป็น "คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน" ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทางคณะก็ได้ผลิตและจัดแสดงละครเวทีออกมาอย่างต่อเนื่อง และเริ่มนับลำดับเรื่องอย่างจริงจัง โดยมีชื่อเรื่อง ดังนี้

ละครเวทีทุกเรื่องข้างต้นจะแฝงไปด้วยแก่นสาระ แนวคิดต่างๆของนักศึกษา ที่ต้องการจะสื่อสารออกไปให้ผู้ชมในโรงละครได้ซึมซับสิ่งต่างๆ ผ่านความบันเทิง โดยสิ่งที่เหล่านี้ล้วนกลั่นกรองมาจากสภาพสังคมและปัญหาในปัจจุบันจากมุมมองในฐานะคนรุ่นใหม่ที่กำลังเติบโตอยู่ในสังคมไทยและในฐานะนักศึกษาด้านสื่อสารมวลชนที่พร้อมจะทำหน้าที่เป็นกระจกเงาสะท้อนสังคม ซึ่งในบางครั้งความคิดเหล่านี้ชี้ให้เห็นปัญหาในสังคม และถูกหยิบยกขึ้นมาวิพากษ์วิจารณ์ต่อบนเวทีสาธารณะ นับว่าเป็นความประสบความสำเร็จและเป็นความภูมิใจอย่างยิ่งสำหรับนักศึกษาที่ทำละครเวที

สำหรับชื่อของละคอนวารสารนั้น จะเห็นว่าใช้คำว่า “ละคอน” แทนคำว่า “ละคร” ซึ่งเป็นคำที่ราชบัณฑิตยสถานจัดเก็บไว้ในพจนานุกรมฉบับปัจจุบันนั้น (คำว่า “ละคอน” และ “ละคร” นั้นมีความหมายเหมือนกัน และมักใช้สลับกันจนสับสนแก่ผู้อ่านตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ทางราชบัณฑิตยสถานจึงเลือกเก็บคำว่าละคร เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว) เนื่องจากต้องการสร้างเอกลักษณ์ให้แก่ละคอนวารสารฯ และยังคงสืบทอดคำว่า “ละคอนวารสารฯ” นี้จวบจนปัจจุบัน สอบถามข้อมูลละคอนวารสารฯ คลิกที่นี่


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เป็นต่อ ขั้นเทพ เป็นข่าว ซีรีส์ คณะนิเทศศาสตร์ ซิทคอม ยีนเด่น (ละครโทรทัศน์) เฮง เฮง เฮง เป็นต่อ นักเขียนบท เจ้าชายฌัก รัชทายาทแห่งโมนาโก กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ปิยะรัฐ ตุ้นทัพไทย อรรถพร ธีมากร ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน ระบบทศนิยมดิวอี้ ตึกนิวยอร์กเวิลด์ เทพมารสะท้านภพ ไทเก็ก หมัดทะลุฟ้า สุภาพบุรุษตระกูลหยาง ตำนานเดชนางพญางูขาว เจิ้ง เจียอิ่ง อู๋ จัวซี กู่ เทียนเล่อ มังกรคู่สู้สิบทิศ แม่พระปฏิสนธินิรมล เจมส์ ฟิกก์ ธัญยกันต์ ธนกิตติ์ธนานนท์ โกะโร อินะงะกิ ฉัตรชัย ดุริยประณีต ธงไชย แมคอินไตย์ คิม เบซิงเงอร์ จิม มอร์ริสัน เดวิด คาร์ราดีน บ๊อบ อารัม สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินาแห่งสวีเดน พรรคประชาชนบรูไน แอมโบรสแห่งมิลาน รังสี ทัศนพยัคฆ์ คิเคโร เจ้าหญิงคาทารีนา-อะมาเลีย เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ บุษกร ตันติภนา จอห์น เทอร์รี เฟอร์นันโด วาร์กัส ช่วง มูลพินิจ พิศมัย วิไลศักดิ์ พระมเหสีจองซอง การโจมตีท่าเรือเพิร์ล กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น Grammy Awards Allmusic ซิงเกิล นักธุรกิจ แร็ปเปอร์ เลสลี นีลเซน มะสึโอะ บะโช นันทนัช โล่ห์สุวรรณ ผู้รักษาประตู สจวร์ต เทย์เลอร์ แดเนียล เฮนนีย์ แอนนา นิโคล สมิธ หลวงพ่อเกษม เขมโก ลี กวน ยู คริส โจนนาว ซิลเวอร์แชร์ เค.แมกซ์ ซินบี แตวุง เค-วัน นักมวยไทย อักษรฮันกุล นักบุญเดนิส ออสการ์ ชินด์เลอร์ เช เกบารา สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 12 สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย หทัยภัทร สมรรถวิทยาเวช พชร ธรรมมล คนึงพิมพ์ พรมกร แบรนดอน เราธ์ แผ่นดินถล่ม สิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก อนุสาวรีย์วอชิงตัน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปริ๊นซ์ ออฟ เทนนิส แม่พระแห่งลูกประคำ เลย์ เซบัสเตียน โกอาเตส ตะวัน จารุจินดา แอรอน แอชมอร์ ชอว์น แอชมอร์ ชิลเบร์ตู ซิลวา ภาคภูมิ แจ้งโพธิ์นาค ซามี ฮูเปีย โทนี แบรกซ์ตัน ไซมอน โคเวลล์ วลาดิมีร์ ปูติน พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 1 แห่งเดนมาร์ก อาคารรัฐสภาไทย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23406